เดือนเด่น นิคมบริรักษ์
-
กล่าวในเชิงเศรษฐกิจ ทีพีพี มีแง่มุมที่ไทยได้ประโยชน์ทั้งในเชิงการลงทุนและการส่งออก ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนขานรับให้รัฐบาลไทยตัดสินใจเข้าร่วม สอดคล้องกับท่าทีของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ ผ่านบทบาทของสภาธุรกิจอเมริกา-อาเซียน แต่ในมิติทางสังคมก็มีผลกระทบด้านลบที่จำเป็นต้องคำนึงถึง โดยเฉพาะเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาและกลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนและภาครัฐหรือไอเอสดีเอส2016-04-18 22:00
-
ในการประชุมวิชชาการ "ปฏิรูประบบสุขภาพและชีวิต ปฏิรูปจิตสำนึกประชาธิปไตย ในโอกาส 9 ปี สช.” เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558 ที่อิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี มีการเสวนาในหัวข้อ "สมดุลของการอภิบาลระบบสุขภาพ" โดยมี ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ผู้อำนวยการวิจัยด้านการบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), นพ.โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค และ นพ.ชาตรี ดวงเนตร ประธานคณะผู้บริหารศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ พร้อมด้วย นพ.อำพล จินดาวัฒนะ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ร่วมเป็นว2015-06-14 19:30
-
เสนอปรับโครงสร้างระบบบริการสุขภาพ แนะแปลง รพ.รัฐเป็นองค์การมหาชน ส่วน รพ.เล็กให้ใช้วิธีรวมกลุ่ม รพ.เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน พร้อมแยกหน่วยออกนโยบายและกำกับดูแลออกจากหน่วยให้บริการ เพื่อความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ พร้อมมีกรรมการจากประชาชนร่วมบริหาร2015-06-11 15:15
-
ประเด็นเรื่องการรวม 3 กองทุนสุขภาพหลักของประเทศไทยเป็นข่าวคราวมาโดยตลอดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และรัฐบาลต่างๆ ก็มีความพยายามที่จะปฏิรูประบบสุขภาพของไทยแต่ก็ยังไม่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน เนื่องจากผู้เขียนได้มีโอกาสในการศึกษาการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศ จึงขอร่วมเสนอความเห็นเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวด้วยเพื่อจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณานโยบายการบริหารจัดการระบบสุขภาพของประเทศไม่มากก็น้อยดังต่อไปนี้2015-05-22 08:21
-
“ความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้นเพราะระบบประกันสุขภาพของไทยเกิดมาทีละชิ้นในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน เริ่มจากสวัสดิการข้าราชการ เป็นกลุ่มแรก ต่อมาคือประกันสังคม และต่อมาคือโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ซึ่งก็ทำให้ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพที่ครอบคลุมคนทุกกลุ่มแต่เกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ...การลดความเหลื่อมล้ำจึงต้องมีระบบประกันสุขภาพระบบเดียว โดยอาจไม่ต้องรวม 3 กองทุนแต่อยู่ภายใต้ระบบเดียว ต้องมีชุดสิทธิประโยชน์มาตรฐานชุดเดียว”2013-07-13 14:21
-
“กลไกอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ” โดย ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย เป็นเอกสารประกอบการเสวนาสาธารณะเรื่อง “คิดใหม่ระบบหลักประกันสุขภาพของไทย” จัดโดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 09.30 – 12.002013-07-13 12:38
-
นักวิจัยทีดีอาร์ไอเรียกร้องการพัฒนาคุณภาพที่ไม่เหลื่อมล้ำของระบบหลักประกันสุขภาพคนไทย โดยในการเสวนาสาธารณะเรื่อง คิดใหม่ : คิดใหม่ระบบหลักประกันสุขภาพของไทย” ซึ่งทีดีอาร์ไอจัดขึ้น เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคมที่ผ่านมา นักวิจัยทีดีอาร์ไอได้เสนอบทวิเคราะห์ที่น่าสนใจ เกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำในระบบประกันสุขภาพ ที่ยังมีความไม่สอดคล้องกันของเงินที่ใส่ลงไปในแต่ละระบบ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ คุณภาพบริการ และแนวทางลดความเหลื่อมล้ำที่จะไม่ทำให้สถานะสุขภาพของคนไทยแตกต่างกัน2013-07-11 16:14
-
แนะเก็บภาษีน้ำอัดลม-ฟาสต์ฟู้ด- มือถือ-สินค้าฟุ่มเฟือย เพิ่มแหล่งเงินเข้า ระบบประกันสุขภาพ ย้ำเก็บผู้ประกอบการไม่ใช่ผู้บริโภค ชี้ต้องมีระบบเดียวตามแนว สปสช.2013-07-02 07:12
-
ข้อมูลจากเวที "กลไกอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ" ในงานประชุมวิชาการการวิจัยระบบสุขภาพ ประจำปี 2556 "จัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม" จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ฉายภาพปัญหาโครงสร้างการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยให้เห็นว่า ยังมีความแตกต่างหลากหลายของกองทุนสุขภาพ2013-05-19 13:16
-
2013-05-06 10:49
-
แนะทบทวน 3 กองทุนสุขภาพ ให้อยู่ในกระทรวงเดียวกัน เพื่อคุมต้นทุนที่สูงและไม่ให้เหลื่อมล้ำ2013-02-17 09:06
-
ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และคณะ จากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ได้ทำการศึกษา โครงการ การพัฒนาแนวทางอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพ นำเสนอต่อสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย โดยมีสาระสำคัญดังนี้2013-02-13 08:10