cofact
-
สมุนไพรไทยหลายชนิดแม้จะมีประโยชน์แต่มักถูกแอบอ้างให้กลายเป็นพืชเทวดาที่รักษาได้ทุกโรคอยู่บ่อยครั้ง ผักกระสังก็เป็นหนึ่งในนั้นที่ถูกอ้างว่ามีสรรพคุณสามารถรักษามะเร็งเต้านม2021-01-15 15:05
-
กระแสตื่นตัวการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ทำห้มีข้อมูลผิดๆ มากมายเผยแพร่ออกมา โดยเฉพาะการรับประทานอาหารบางอย่างซึ่งอ้างว่าจะไม่ทำให้ติดเชื้อ หรือหากติดเชื้อโควิดก็จะไม่มีอาการอันตรายใดๆ2021-01-15 13:33
-
ช่วงต้นปี 2563 เมื่อโควิด-19 แพร่ระบาดรอบแรก องค์การอนามัยโลกได้เตือนบุคลากรทางการแพทย์ให้ระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นในบางขั้นตอนของการดูแลรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาล แต่ไม่ใช่การเกิดขึ้นโดยทั่วไป แต่ก็มีการแชร์ข้อมูลนี้ออกไปในวงกว้างทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน2021-01-15 10:22
-
ข้อมูลลวงที่เผยแพร่กันอย่างแพร่หลายในโลกออนไลน์อย่างหนึ่งคือ การยืนตากแดดวันละอย่างน้อย 20 นาทีจะช่วยให้สามารถฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้2021-01-14 15:23
-
อีกหนึ่งข้อมูลผิดๆ ที่มักนิยมนำมาเผยแพร่กันในโลกออนไลน์ คือการดื่มน้ำมะนาวเพื่อฆ่าเชื้อโควิด ตั้งแต่การระบาดรอบแรก เมื่อต้นปีก่อน และย้อนกลับมาอีกครั้งในการระบาดรอบใหม่นี้2021-01-14 12:51
-
ความวิตกกังวลต่อการแพร่ระบาดของโควิด-19 ซึ่งยังไม่มียารักษา ทำให้มีการแพร่ข้อมูลผิดๆ เรื่องสมุนไพรป้องกันและรักษาโควิด อย่างมากมายหลายชนิด ซึ่งล้วนแต่ยังไม่มีข้อมูลการศึกษาวิจัยยืนยัน2021-01-13 15:27
-
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ไม่มีมูลความจริงทำให้เกิดความเข้าใจผิดในประเด็นเดิมๆ ยังคงวนกลับมาให้เห็นซ้ำอีก ดังเช่นกรณีข่าวสปิดมอเตอร์เวย์ในช่วงการระบาดรอบใหม่ที่มีการกำหนดพื้นที่ควบคุมสูงสุด2021-01-13 11:04
-
ไปรษณีย์ไทยยืนยันข่าวปลอมพัสดุติดเชื้อโควิด-19 ต้องใส่ถุงไว้ 24 ชั่วโมงก่อนเปิด หรือต้องฉีดน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนนำเข้าบ้านไม่จริง2021-01-12 16:52
-
ข่าวปลอมที่มีการเผยแพะร่กันในโซเชียลมีเดียว่า การรับประทานเนื้อดิบมีสรรพคุณป้องกันและรักษาโรคโควิด-19 กลับมาอีกครั้ง หลังมีกรณีคล้ายกันนี้ตั้งแต่เอนก.พ.2563 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดการแพร่ระบาดรอบแรก2021-01-12 13:10
-
ข้อมูลจากระบบรับแจ้งตรวจสอบข้อมูลข่าวปลอมของ Cofact พบข่าวปลอมโควิดที่ถูกเผยแพร่ในรูปแบบคลิปเสียงมีมากขึ้น ทั้งอ้างถึงการแพร่ระบาด และวิธีการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อป้องกันการติดเชื้อ2021-01-12 10:41
-
สถานการณ์โรคอุบัติใหม่อย่างโควิด-19 ดันให้ข่าวปลอมด้านสุขภาพแพร่หลายอย่างมากตลอดปีที่ผ่านมา แต่ในปีหน้า 2564 สุภิญญา กลางณรงค์ ผู้ร่วมก่อตั้งภาคี COFACT ซึ่งตรวจสอบข่าวปลอมคาดว่าผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจและปัญหาการเมือง อาจจะผลักดันให้ปัญหาข่าวปลอมกลายเป็นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์มากขึ้น2020-12-15 11:29
-
Cofact เชื่อมต่อโลกออนไลน์ ระดมความคิดเห็นและแนวทางรับมือ “โรคระบาดข้อมูลข่าวสาร - infodemic” ท่ามกลางสถานการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 อย่างไร ไม่ให้ตื่นตระหนก และตกเป็นเหยื่อข่าวลวงข้อมูลเท็จ2020-04-25 11:05